
หากคุณ เป็นคนหนึ่งที่ชอบ คิดมาก ฟุ้งซ่าน ขี้กังวลกับการกระทำไปซะทุกเรื่อง จนทำให้ต้องลำบากใจอยู่บ่อยๆ เรามีแนวทางมาแนะนำ ที่จะช่วยให้คุณลดความวิตกกังวล คิดมาก หรือ ฟุ้งซ่านลงได้
1. สังเกตความคิดของตัวเอง
ส่วนสำคัญที่สุดของการทำคือ การปล่อยให้ความคิดของคุณ ลอยผ่านไป แทนที่จะไปยึดติดอยู่กับมันหรือพย าย ามที่จะหยุดคิดมัน การฝึกสมาธิแบบเจริญสติเป็นสิ่งที่ช่วยให้คุณ หยุดห ม ก มุ่ น กับเรื่องในอดีตได้
โดยให้คุณลองสังเกตการณ์ความคิดของตัวเอง ดูว่าตัวเองกำลังวิต ก กังวล อยู่กับเรื่องอะไรและจะแก้ปัญหาได้อย่างไรแทนที่จะลงไปหมกมุ่ น อยู่กับมันลองนั่งอยู่เฉยๆ แล้วสังเกตความคิดของตัวเองดู คุณจะรู้เลยว่าความคิดมันไร้ขอบเขตจริงๆ และเวลาที่คุณพย าย ามทำให้มันนิ่ง ก็มีแต่จะแ ย่ ลงเท่านั้น
แต่จิตใจของคุณจะสงบลงเอง เมื่อเวลาผ่านไปสักพัก และ เมื่อจิตใจของคุณสงบแล้วมันก็จะมีที่ว่างในการรับฟังสิ่งที่ละเอียดอ่อนยิ่งขึ้น
2. เขียนความคิดของตัวเอง
อีกวิธีนึง ที่จะช่วยหยุดความคิด ฟุ้งซ่านของคุณ ก็คือการระบายให้กับคนที่มีมุมมองวิธีคิดแตกต่างไปจากคุณได้ฟัง หรือจะใช้วิธีเขียนระบายความคิดของตัวลงไปในกระดาษแทนก็ได้เพราะการเขียนทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบขึ้นมาก
ถ้าคุณเก็บความคิดเหล่านั้น ไว้แต่ในหัว นอกจากมันจะไปสุมกันจนเป็นภูเขามันยังทำให้คุณวนกลับมาคิดเรื่องเดิมซ้ำอยู่อย่างนั้นไม่จบสิ้น
3. กำหนดช่วงเวลาสำหรับ “การหยุดใช้ความคิด”
การกำหนดเวลา “หยุดใช้ความคิด” ช่วยห้ามไม่ให้คุณห ม ก มุ่ น กับปัญหาอย่างใด อย่างหนึ่งมากเกินไป เช่น การไม่คิดเกี่ยวกับเรื่องย ากๆ หลังเวลาสองทุ่มเพื่อไม่ให้มันมารบกวนเวลานอนหลับมีคำแนะนำว่าให้แบ่งเวลาไว้ประมาณ 20 นาทีต่อวัน
สำหรับการสะท้อนความคิดของตัวเอง ภายในยี่สิบนาทีนี้ ปล่อยให้ตัวเองวิต ก กังวล ครุ่นคิด ฟุ้งซ่านได้เต็มที่ตามต้องการ แล้วพอหมดเวลา ก็ให้เปลี่ยนไปทำสิ่งอื่นที่มีประโยชน์กว่า ถ้าคุณเริ่มคิดมากนอกช่วงเวลาที่กำหนดไว้เมื่อไหร่ ก็ให้เตือนตัวเองว่า ค่อยเอาเก็บไปคิดในช่วงเวลาที่กำหนดดีกว่า
4. เบี่ ย ง เบ น ความคิดของตัวเอง
ฟังดูง่ายๆ แต่ที่จริงการจดจ่อ กับสองสิ่งไปพร้อมกันนี่มันย ากนะ ลองออกกำลังกายหรือเล่นเกมดูเมื่อรู้ตัวว่าตนเองกำลังคิดมากเพื่อสร้างสมดุลระหว่างอารมณ์และร่างก าย
ผู้เชี่ยวชาญหลายคน ก็เห็นด้วยกับวิธีนี้ คือ ให้หากิจกรรมที่เบี่ ย ง เ บ น ความสนใจของคุณ
ซึ่งควรเป็นกิจกรรมที่ใช้ทั้งร่างก าย ความคิดและการร่วมเล่นกับผู้อื่น เช่น เทนนิส หรือการเดินเที่ยวกับเพื่อนสักคน
5. โฟกัสที่สิ่งที่ทำได้ในปัจจุบัน
อีกหนึ่งวิธีแก้นิสัย คิดมากก็คือ เลิกคิดแล้วลงมือทำอย่าไปโฟกัสในสิ่งที่คุณต้องทำ สิ่งที่ยังไม่ได้ทำ หรือแม้แต่สิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว แต่ให้พุ่งความสนใจไปในที่สิ่งที่สามารถทำได้ในปัจจุบันก็พอ
ไม่ว่าจะใหญ่หรือเล็กแค่ไหน ก็ตาม แล้วก็ลงมือทำมันซะ แบบนี้ทุกครั้งที่เรากังวลถึงปัญหาในเรื่องใดๆ เราก็จะสามารถทำให้มันออกมาเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น
6. เคารพความคิดเห็นของตัวเอง
เหตุที่คุณยังคงคิดมากจน ไม่ยอมตัดสินใจส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะคุณไม่เชื่อว่าตัวเองจะตัดสินใจเลือกสิ่งที่ถูกต้อง จงเรียนรู้ที่จะเคารพความคิดเห็นของตัวเอง ยิ่งคิดมากเท่าไหร่ คุณก็จะยิ่งลังเลในความคิดของตัวเองมากเท่านั้น
7. คุณสามารถเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจที่ผิดพลาดได้
เป็นเรื่องปกติที่จะกังวล ว่าคุณเลือกงานผิด แต่งงานกับคนที่ไม่ใช่สำหรับตัวเอง หรือแม้แต่ขับรถกลับบ้านผิดทาง แต่ความผิดพลาดก็ไม่ได้นำไปสู่ห ายนะ เสมอไป
แถมยังเป็นโอกาสให้ได้เรียนรู้และเติบโตขึ้น ด้วยคุณไม่ต้องกังวลกับความผิดพลาดเลย และ ให้เข้าใจไว้ว่าความคิดเห็นหรือความรู้ของคุณนั้นมันเปลี่ยนแปลงได้เสมอตามกาลเวลา แล้วคุณจะรู้สึกสงบและเป็นอิสระจากภายในอย่างแท้จริง
ขอขอบคุณ sumrej